top of page

Did you know? What is the difference between Por Ngor Dor 3 and Por Ngor Dor 53?


  รู้หรือไม่? ภ.ง.ด.3 กับ ภ.ง.ด.53 ต่างกันอย่างไร  บทความนี้ จะพาเพื่อน ๆ มารู้จักความแตกต่างของ  ภ.ง.ด.3 กับ ภ.ง.ด.53 ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร เพื่อที่เพื่อน ๆ จะได้เข้าใจในเรื่องภาษีต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น   ภ.ง.ด.3 กับ ภ.ง.ด.53  ภ.ง.ด.3 คือ แบบยื่นภาษีเพื่อแจ้งการหักภาษี ณ ที่จ่าย ระหว่างนิติบุคคลกับบุคคลธรรมดา ที่เจ้าของกิจการต้องหักออกจากค่าจ้างก่อนที่จะจ่ายเงิน   ภ.ง.ด.53 คือ แบบยื่นภาษีเพื่อแจ้งการหักภาษี ณ ที่จ่าย ระหว่างนิติบุคคลกับนิติบุคคล   โดยทั้ง 2 แบบ เป็นเอกสารที่เจ้าของกิจการที่จดทะเบียนบริษัท ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย เมื่อมีการจ้างงานภายในกิจการ ซึ่งการหักภาษีจะหีกตามประเภทของงาน ส่วนทางเจ้าของกิจการจะมีหน้าที่ออกเอกสาร หัก ณ ที่จ่าย ให้กับผู้ที่ถูกจ้างงาน และยื่นสำเนาไปที่กรมสรรพากร   ประเภทของเงินได้ที่ต้องถูกหัก ณ ที่จ่าย ซึ่งผู้รับเป็นบุคคลธรรมดา (ภ.ง.ด.3) 1. จากการให้เช่าทรัพย์สิน 2. จากการประกอบอาชีพอิสระ เช่น งานบัญชี งานวิศวกรรม 3. จากการรับเหมา โดยผู้รับเหมาเป็นผู้ลงทุนในการจัดหาสิ่งของเพิ่มเติมเอง 4. จากการธุรกิจการพาณิชย์ เช่น การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่งฯ ถูกกำหนดไว้ ดังนี้ - เงินรางวัลในการประกวด - เงินได้จากการเป็นนักแสดงสาธารณะ - เงินได้จากการรับโฆษณา - เงินได้จากการรับจ้างทำของ - เงินได้จากการให้บริการอื่นๆ - ส่วนลด หรือประโยชน์อื่น ที่ได้จากการส่งเสริมการขาย  - เงินได้จากการขนส่ง  ประเภทของเงินได้ที่ใช้ในกิจการนิติบุคคล (ภ.ง.ด.53) 1. เงินได้ที่มาจากการขายสินค้าทางการเกษตรบางประเภท ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร เงินปันผล เงินได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน เงินได้จากอาชีพอิสระ เงินได้จากการโฆษณา เงินได้จากการชิงโชค เป็นต้น 2. เงินได้ตามมาตรา 40(8) (หากเป็นการจ่ายเงินที่นอกเหนือจากกรณีในข้อที่ 1)  3. เงินได้จากค่าเบี้ยประกันวินาศภัย ได้เฉพาะที่จ่ายให้กับนิติบุคคลด้วยกัน 4. เงินได้จากค่าขนส่ง (ไม่รวมการจ่ายค่าโดยสารขนส่งสาธารณะ)  การยื่นแบบ ภ.ง.ด.3 กับ ภ.ง.ด.53  ทั้ง 2 แบบ สามารถนำส่งต่อเมื่อระหว่างเดือนนั้น ๆ มีการหัก ณ ที่จ่าย โดยยื่นภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป แต่ถ้าเดือนนั้น ไม่มีการหักไหนเลย ก็ไม่ต้องนำส่ง หรืออีกวิธีหนึ่ง คือการยื่นแบบผ่านอินเทอร์เน็ต โดยเข้าไปที่ เว็บไซต์กรมสรรพากร  ( https://www.rd.go.th/272.html ) จะสามารถยืดเวลาการยื่นออกไปอีก 8 วัน ซึ่งจะไม่เกินวันที่ 15 และยังสามารถตรวจสอบย้อนหลังได้หลังจากนำส่งไปแล้ว 3 วัน    ----------------------------------------------------------------------------------- สนใจบริการดูแลการตลาดออนไลน์ | ทำการตลาดออนไลน์ | ทำกราฟฟิคครบวงจร | สามารถติดต่อเราได้ตลอด  | รับสร้างแบรนด์  | รับทำการตลาดออนไลน์  | รับทำแผนการตลาดออนไลน์  | รับสร้างแบรนด์  | รับดูแล Facebook แฟนเพจ  | รับดูแล LINE OA    สามารถติดต่อเราได้ตลอด 24 ชั่วโมง   รายละเอียดบริการดูแลการตลาดออนไลน์ >> https://www.chatstickmarket.com/langran  ตัวอย่าง ผลงานแบรนด์ต่างๆ ที่เราดูแลการตลาดออนไลน์ให้ >> https://www.chatstickmarket.com/portfolio  ------------------------------------------------------------------------------------  💙ปรึกษาทีมงานของเรา💙 📱Tel : 0840104252 📱0947805680 📨 Inbox : http://m.me/ChatStick.TH  ┏━━━━━━━━━┓ 📲 LINE: @chatstick ┗━━━━━━━━━┛ หรือคลิ๊ก https://goo.gl/KuzCpM  🎉รายละเอียดที่ http://www.chatstickmarket.com/langran  🎉ชมผลงานเราได้ที่ https://www.chatstickmarket.com/portfolio

รู้หรือไม่? ภ.ง.ด.3 กับ ภ.ง.ด.53 ต่างกันอย่างไร


บทความนี้ จะพาเพื่อน ๆ มารู้จักความแตกต่างของ ภ.ง.ด.3 กับ ภ.ง.ด.53 ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร เพื่อที่เพื่อน ๆ จะได้เข้าใจในเรื่องภาษีต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น


ภ.ง.ด.3 กับ ภ.ง.ด.53

ภ.ง.ด.3 คือ แบบยื่นภาษีเพื่อแจ้งการหักภาษี ณ ที่จ่าย ระหว่างนิติบุคคลกับบุคคลธรรมดา ที่เจ้าของกิจการต้องหักออกจากค่าจ้างก่อนที่จะจ่ายเงิน


ภ.ง.ด.53 คือ แบบยื่นภาษีเพื่อแจ้งการหักภาษี ณ ที่จ่าย ระหว่างนิติบุคคลกับนิติบุคคล


โดยทั้ง 2 แบบ เป็นเอกสารที่เจ้าของกิจการที่จดทะเบียนบริษัท ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย เมื่อมีการจ้างงานภายในกิจการ ซึ่งการหักภาษีจะหีกตามประเภทของงาน ส่วนทางเจ้าของกิจการจะมีหน้าที่ออกเอกสาร หัก ณ ที่จ่าย ให้กับผู้ที่ถูกจ้างงาน และยื่นสำเนาไปที่กรมสรรพากร


ประเภทของเงินได้ที่ต้องถูกหัก ณ ที่จ่าย ซึ่งผู้รับเป็นบุคคลธรรมดา (ภ.ง.ด.3)

1. จากการให้เช่าทรัพย์สิน

2. จากการประกอบอาชีพอิสระ เช่น งานบัญชี งานวิศวกรรม

3. จากการรับเหมา โดยผู้รับเหมาเป็นผู้ลงทุนในการจัดหาสิ่งของเพิ่มเติมเอง

4. จากการธุรกิจการพาณิชย์ เช่น การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่งฯ ถูกกำหนดไว้ ดังนี้

- เงินรางวัลในการประกวด

- เงินได้จากการเป็นนักแสดงสาธารณะ

- เงินได้จากการรับโฆษณา

- เงินได้จากการรับจ้างทำของ

- เงินได้จากการให้บริการอื่นๆ

- ส่วนลด หรือประโยชน์อื่น ที่ได้จากการส่งเสริมการขาย

- เงินได้จากการขนส่ง


ประเภทของเงินได้ที่ใช้ในกิจการนิติบุคคล (ภ.ง.ด.53)

1. เงินได้ที่มาจากการขายสินค้าทางการเกษตรบางประเภท ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร เงินปันผล เงินได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน เงินได้จากอาชีพอิสระ เงินได้จากการโฆษณา เงินได้จากการชิงโชค เป็นต้น

2. เงินได้ตามมาตรา 40(8) (หากเป็นการจ่ายเงินที่นอกเหนือจากกรณีในข้อที่ 1)

3. เงินได้จากค่าเบี้ยประกันวินาศภัย ได้เฉพาะที่จ่ายให้กับนิติบุคคลด้วยกัน

4. เงินได้จากค่าขนส่ง (ไม่รวมการจ่ายค่าโดยสารขนส่งสาธารณะ)


การยื่นแบบ ภ.ง.ด.3 กับ ภ.ง.ด.53

ทั้ง 2 แบบ สามารถนำส่งต่อเมื่อระหว่างเดือนนั้น ๆ มีการหัก ณ ที่จ่าย โดยยื่นภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป แต่ถ้าเดือนนั้น ไม่มีการหักไหนเลย ก็ไม่ต้องนำส่ง หรืออีกวิธีหนึ่ง คือการยื่นแบบผ่านอินเทอร์เน็ต โดยเข้าไปที่ เว็บไซต์กรมสรรพากร ( https://www.rd.go.th/272.html ) จะสามารถยืดเวลาการยื่นออกไปอีก 8 วัน ซึ่งจะไม่เกินวันที่ 15 และยังสามารถตรวจสอบย้อนหลังได้หลังจากนำส่งไปแล้ว 3 วัน


-----------------------------------------------------------------------------------

สนใจบริการดูแลการตลาดออนไลน์ | ทำการตลาดออนไลน์ | ทำกราฟฟิคครบวงจร | สามารถติดต่อเราได้ตลอด | รับสร้างแบรนด์ | รับทำการตลาดออนไลน์ | รับทำแผนการตลาดออนไลน์ | รับสร้างแบรนด์ | รับดูแล Facebook แฟนเพจ | รับดูแล LINE OA สามารถติดต่อเราได้ตลอด 24 ชั่วโมง

รายละเอียดบริการดูแลการตลาดออนไลน์

ตัวอย่าง ผลงานแบรนด์ต่างๆ ที่เราดูแลการตลาดออนไลน์ให้

------------------------------------------------------------------------------------


💙ปรึกษาทีมงานของเรา💙

📱Tel : 0840104252 📱0947805680

┏━━━━━━━━━┓

📲 LINE: @chatstick

┗━━━━━━━━━┛

หรือคลิ๊ก https://goo.gl/KuzCpM

🎉รายละเอียดที่ http://www.chatstickmarket.com/langran

🎉ชมผลงานเราได้ที่ https://www.chatstickmarket.com/portfolio

4 views

Related Posts

See All

Comments


CS_Redesign_คอนเทนต์เดิม2_2.png
CS_Redesign_คอนเทนต์เดิม3.png
Recent Posts
c24f0332fa3b87f8a304140403b893510_64100212_210625.jpg
244712625_300456528129611_2152723951836713111_n.jpg
5.png
4.png
Button Event สติกเกอร์.png
2.png
Button ChatStick Market.png
bottom of page